ค่าสัมบูรณ์สามารถถือว่าเป็นระยะทางของจำนวนนั้นจากศูนย์ สัญกรณ์ของระยะทางในคณิตศ อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ฟังก์ชั่นค่าสัมบูรณ์
นิยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ a, ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ −a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| < 0
ค่าสัมบูรณ์สามารถถือว่าเป็นระยะทางของจำนวนนั้นจากศูนย์ สัญกรณ์ของระยะทางในคณิตศ อ่านเพิ่มเติม
ค่าสัมบูรณ์สามารถถือว่าเป็นระยะทางของจำนวนนั้นจากศูนย์ สัญกรณ์ของระยะทางในคณิตศ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชั่นเอกโพเนนเชียล
นิยาม ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลคือ ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น 1
ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น 1
ฟังก์ชั่นเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูป f(x) = ax+b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
เช่น f(x) = 2x+1
f(x) = -3x
f(x) = x-5 เป็นต้น
กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x) = b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังก์ชั่นคงตัว ’’ (Constant function) กราฟของฟังก์ชั่นคงตั อ่านเพิ่มเติม
เช่น f(x) = 2x+1
f(x) = -3x
f(x) = x-5 เป็นต้น
กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x) = b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังก์ชั่นคงตัว ’’ (Constant function) กราฟของฟังก์ชั่นคงตั อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชั่นกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง มีชื่อเรียกว่า พาราโบลา ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a , b และ c และเมื่อ a เป็นบวกหรือลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ และกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ y = ax^2 เมื่อ a ไม่เท่ากับ 0 เมื่อ a > 0 และชนิดคว่ำ เมื่อ a < 0 อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชั่น
ฟังก์ชันเป็นบทเรียนที่ต่อจากเรื่องความสัมพันธ์ ในบทเรียนนี้จะได้รู้จักว่าฟังก์ชันเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขอย่างไร การแทนฟังก์ชัน ฟังก์ชันจาก A ไป B ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก พร้อมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้สมการและอสมการ การแก้โจทย์ปัญหาฟังก์ชัน ฟังก์ชันคอมโพสิท ฟังก์ชันอิ อ่านเพิ่มเติม
โดเมนและเรนจ์
ถ้าพิจารณาเฉพาะเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ใด ๆ จะได้โดเมน (domain) และเรนจ์ (range) ของความสัมพันธ์นั้นตามลำดับ
เช่น r1 = {(1,2),(2,3),(3,4),(4,5)}
r2={(x,y) I x I | y = x} อ่านเพิ่ม
เช่น r1 = {(1,2),(2,3),(3,4),(4,5)}
r2={(x,y) I x I | y = x} อ่านเพิ่ม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชั่น
คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมา อ่านเพิ่มเติม
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมา อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)